ป่าชายเลน เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มี ความสำคัญ สร้างประโยชน์ต่อระบบนิ เวศของพื้นที่ชายฝั่งทะเล สามารถดูดซับก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ได้ดีกว่าพื้นที่ป่ าปกติอีกทั้งยังเป็นต้นทางของการสร้ างความมั่นคงทางอาหาร
ด้วยตระหนักถึงความสำคั ญของความหลากหลายทางชีวภาพของป่ าชายเลน “บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด(มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ” มุ่งมั่นสานต่อความร่วมมือกั บหน่วยงานภาครัฐ อาทิ กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพั นธุ์พืช กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง( ทช.) ภาคประชาสังคม ชุมชนในพื้นที่ พนักงานในองค์กร ร่วมอนุรักษ์ ฟื้นฟู และปลูกป่าใหม่เพื่อเพิ่มพื้นที่ ป่าชายเลนให้กับประเทศ เดินหน้าสร้างสิ่งแวดล้ อมและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
ตั้งแต่ปี 2557 จนถึงปัจจุบัน ซีพีเอฟดำเนินโครงการ “ซีพีเอฟ ปลูก ปัน ป้อง ป่าชายเลน”อนุรักษ์ ฟื้นฟู และปลูกป่าใหม่เพิ่มเติมจำนวน 4,000 ไร่ คิดเป็นจำนวนต้นไม้ที่ปลู กมากกว่า 1.6 ล้านต้น ในพื้นที่ยุทธศาสตร์ 5 จังหวัด คือ ระยอง สมุทรสาคร ชุมพร สงขลา และพังงา
ปัจจุบัน มีเป้าหมายอนุรักษ์ ฟื้นฟู และปลูกป่าชายเลนเพิ่มเติม ในพื้นที่ตำบลบางหญ้าแพรก จังหวัดสมุทรสาคร ตำบลปากน้ำประแส จ.ระยอง และต.ท่าพริก จ.ตราด นอกจากสนับสนุนยุทธศาสตร์ ประเทศไทยเพิ่มผืนป่าชายเลนแล้ว ยังสอดรับกับเป้าหมายการพัฒนาที่ ยั่งยืนแห่งสหประชาชาติ(SDGs) ข้อ 13 Climate Change รับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภู มิอากาศและผลกระทบที่เกิดขึ้น ข้อ14 อนุรักษ์และใช้ประโยชน์ จากมหาสมุทร ทะเล และทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน
และข้อ 17 ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่ งยืน และยังตอบโจทย์กลยุทธ์ความยั่ งยืนของซีพีเอฟ ที่มุ่งมั่นมีส่วนร่วมปกป้ องความหลากหลายทางชีวภาพ
ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ”ปลูก ปัน ป้อง ป่าชายเลน” ไม่ใช่แค่เพียงจำนวนพื้นที่สี เขียวที่เพิ่มขึ้น แต่ส่งผลเชิงบวก ทั้งมิติด้านสิ่งแวดล้อม เพิ่มพื้นที่ป่าชายเลนที่ช่วยรั กษาระบบนิเวศชายฝั่ง ด้านเศรษฐกิจและสังคม ส่งเสริมการสร้างอาชีพ สนับสนุนการรวมตัวที่เข้มแข็ งของชุมชนพัฒนาพื้นที่สู่การเป็ นวิสาหกิจท่องเที่ยวชุมชนที่มี อัตลักษณ์ของตนเอง อาทิ วิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยววิถีชุ มชนตำบลปากน้ำประแส จังหวัดระยอง วิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวบ้ านธรรมชาติล่าง ตำบลคลองใหญ่ อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด วิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยววิถีชุ มชน ต.บางหญ้าแพรก จ.สมุทรสาคร
พร้อมกันนี้ ซีพีเอฟ ปลูกฝังความตระหนักรู้สู่เด็ กและเยาวชนในสถานศึกษา มีส่วนร่วมดูแลอนุรักษ์ทรั พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จากการทำโครงการ “ปันรู้ ปลูกรักษ์” นำนักเรียนลงพื้นที่และลงมือปฏิ บัติจริง สร้างผู้นำหรือตัวแทนเยาวชนที่ สามารถสื่อสาร คิดสร้างสรรค์และต่อยอดในการร่ วมดูแลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ต่ อไป
10 พฤษภาคมของทุกปี ตรงกับ “วันป่าชายเลนแห่งชาติ” ซึ่งในปี 2567 นี้ ภาครัฐได้รณรงค์ให้ ภาคเอกชนและชุมชน มีส่วนร่วมและมีบทบาทในการอนุรั กษ์ ฟื้นฟูป่าชายเลน เพื่อเพิ่มความหลากหลายทางชี วภาพ รวมถึงการจัดการขยะ ลดผลกระทบจากขยะทะเล ตลอดจนส่งเสริมการรวมตัวของชุ มชน ให้มีอาชีพและรายได้ที่สามารถพึ่ งพาตนเองได้ เพื่อเป็นกำลังสำคัญในการปกป้อง ดูแล รักษา ปลูกและฟื้นฟู ทรัพยากรป่าชายเลน กลับสู่ระบบนิเวศที่สมบูรณ์ ซี่งซีพีเอฟเป็นอีกหนึ่งแรงสนั บสนุน เพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าวไปด้ วยกัน