ซีพีเอฟ สนับสนุนกรมประมงเดินหน้าปฏิบั ติการจับปลาหมอคางดำออกจากแหล่ งน้ำอย่างต่อเนื่อง ระดมความร่วมมือจากทุกภาคส่วน กรมราชทัณฑ์ สำนักงานพัฒนาที่ดิน เกษตรกร ผู้นำชุมชน จัดกิจกรรมลงแขกลงคลองครั้งที่ 5 ในคูคลอง พื้นที่อำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช จับปลาได้ 1,706 กิโลกรัม นำไปทำน้ำหมักชีวภาพแจกฟรีให้ เกษตรกร พร้อมทั้งร่วมมือกับจังหวั ดนนทบุรีเดินหน้ากำจัดปลาในพื้ นที่ เพื่อลดจำนวนปลาในพื้นที่อย่ างจริงจัง ตลอดจนยังได้ต่อยอดความร่วมมื อกับกรมราชทัณฑ์ นำปลาหมอคางดำผลิตน้ำปลาและปุ๋ ยหมักชีวภาพเพื่อเร่งให้ ปลาหมอคางดำถูกกำจัดจากทุกพื้ นที่
นายกอบศักดิ์ เกตุเหมือน ประมงจังหวัดนครศรีธรรมราช กล่ าวว่า ประมงจังหวัดนครศรีธรรมราชบู รณาการทุกภาคส่วนดำเนิ นมาตรการเร่งกำจั ดปลาหมอคางดำในทุกพื้นที่ โดยเฉพาะในพื้นที่ปากพนัง เชียรใหญ่ และหัวไทร โดยมีการจัดกิ จกรรมลงแขกลงคลองแล้วรวม 5 ครั้ง โดยร่วมมือกับภาคีเครือข่าย เรือนจำปากพนัง กรมราชทัณฑ์ สำนักงานพัฒนาที่ดิน เกษตรกร ผู้นำชุมชน รวมทั้งบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟที่สนับสนุนเครื่ องมือจับปลา อาหารและน้ำดื่มในการจัดกิ จกรรมทุกครั้ง
สำหรับกิจกรรมครั้งที่ 5 ลงพื้นที่จับปลาในบริเวณคู คลองสาขา บ้านบ่อคณฑี ต.เกาะเพชร อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช โดยจะนำปลาที่จับได้ 1,706 กิโลกรัมไปผลิตน้ำหมักชีวภาพเพื่ อแจกเกษตรกร และส่วนหนึ่งมอบให้เรื อนจำปากพนังปรุงเป็นอาหารให้แก่ ผู้ต้องขัง และจากการจัดกิจกรรมจั บปลาของประมงนครศรีธรรมราชทั้ งหมด 5 ครั้ง สามารถกำจั ดปลาหมอคางดำออกจากแหล่งน้ำได้ แล้วมากกว่า 8 ตัน
“มาตรการระดมกันจับปลา ควบคู่กับแนวทางการใช้ประโยชน์ เป็นมาตรการที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ปริ มาณปลาหมอคางดำในแหล่งน้ำ เบาบางลง และปลายเดือนกันยายนนี้ประมงจั งหวัดนำปลานักล่าขนาด 4 นิ้วขึ้นไปที่ได้รับการสนับสนุ นจากซีพีเอฟปล่อยลงสู่แหล่งน้ำ ช่วยกำจัดปลาตัวเล็ก เพื่อตัดวงจรชีวิตปลาชนิดนี้ให้ มากที่สุด” นายกอบศักดิ์กล่าว
ด้านจังหวัดนนทบุรีมี แนวทางการจัดการปั ญหาปลาหมอคางดำในพื้นที่อย่ างจริงจังเช่นกัน โดยนายสุธี ทองแย้ม ผู้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรี กล่าวว่า นนทบุรีมุ่งเน้นเร่งจั บออกจากแหล่งน้ำให้มากที่สุด และต้องทำอย่างสม่ำเสมอ ควบคู่กับการส่งเสริมการบริโภค โดยการจัดกิจกรรมครั้งนี้ นอกจากหน่วยงานราชการ ผู้นำชุมชน ยังได้รับการสนับสนุนอวน รวมทั้งอาหารและเครื่องดื่ มจากซีพีเอฟอีกด้วย วันนี้จับปลาได้ 50 กิโลกรัม เป็นปลาหมอคางดำ และยังจับได้ปลาตะเพียน ปลานิล และปลาฉลาดรวมอยู่ด้วย จังหวัดส่งต่อสำนักงานพัฒนาที่ ดินสำหรับทำน้ำหมักชีวภาพต่อไป
มาตรการจัดการปลาหมอคางดำต่ อจากนี้จะขอความร่วมมือกับผู้ นำชุมชนและชุมชนช่วยกันจั บออกจากแหล่งน้ำทันทีเพื่อให้ ปลาหมอคางดำหมดไป นอกจากนี้ จังหวัดนนทบุรียังอนุมัติงบพิ เศษเพื่อจัดซื้อปลานักล่าในน้ำ จืดสำหรับปล่อยลงสู่แหล่งน้ำ ในจังหวัดเพื่อจั ดการปลาหมอคางดำในแหล่งน้ำให้ หมดไป
ชณะที่นายอดิศร์ กฤษณวงศ์ ผู้บริหารสูงสุดสายงานรัฐกิ จและเอกชนสัมพันธ์ ซีพีเอฟ กล่าวว่า ซีพีเอฟร่วมสนับสนุ นกรมประมงในการกำจัดปลาหมอคางดำ ผ่านการริเริ่มและดำเนิ นโครงการเชิงรุก 5 โครงการ ประกอบด้วย การช่วยรับซื้อปลาหมอคางดำเพื่ อผลิตปลาป่นซึ่งวันนี้สามารถรั บซื้อได้ 1,300,000 กิโลกรัมแล้ว การสนับสนุนปลานักล่าปล่อยลงสู่ แหล่งน้ำ 200,000 ตัว การสนับสนุนกิจกรรมจั บปลาออกจากแหล่งน้ำของประมงจั งหวัดที่พบปลาชนิดนี้
รวมทั้งร่วมสนับสนุนสถาบันการศึ กษาและมหาวิทยาลัยในการพั ฒนาแนวทางการใช้ประโยชน์ และการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อควบคุ มประชากรปลาหมอคางดำอย่างยั่งยื น ล่าสุดร่วมมือกับสถาบั นเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุ ณทหารลาดกระบังนำเทคโนโลยี eDNA เพิ่มความแม่ นยำในการสำรวจประชากรปลาในแหล่ งน้ำ นำไปสู่การจัดการปัญหาอย่างมี ประสิทธิภาพต่อไป
อกจากนี้ ซีพีเอฟยังได้ขยายความร่วมมื อในการแก้ไขปัญหาปลาหมอคางดำกั บกรมราชทัณฑ์ โดยสนับสนุนกรมราชทัณฑ์ นำปลาหมอคางดำเพื่อนำไปผลิตน้ำ หมักชีวภาพ และหมักน้ำปลา พร้อมทั้งเชิญเกษตรกรหรือปราชญ์ ชาวบ้านมาช่วยถ่ายทอดความรู้ การผลิตน้ำปลาจากปลาหมอคางดำเพื่ อสร้างทักษะอาชีพให้แก่ผู้ต้ องขังอีกด้วย” นายอดิศร์กล่าว
ซีพีเอฟสนับสนุนกรมประมงเปิดปฏิ บัติการจับปลาหมอคางดำมาตลอดกว่ า 1 เดือน โดยให้การสนับสนุนอุปกรณ์การจั บปลา ทั้งอวน แห กากชา รวมทั้งอาหารและน้ำดื่ม จัดกิจกรรมจับปลาในพื้นที่ 15 จังหวัดมากกว่า 30 ครั้ง สามารถจับปลาออกจากแหล่งน้ำ มากกว่า 26,000 กิโลกรัมแล้ว สำหรับจังหวัดนครศรีธรรมราช ซีพีเอฟยังได้ต่อยอดการสนับสนุ นการใช้ประโยชน์ โดยสนับสนุนถังพลาสติกโรงเรี ยนชุนชนวัดเกาะเพชร ผลิตน้ำหมักชีวภาพสำหรับแปลงปลู กผักอินทรีย์ ร่วมมือกับเกษตรกรฟาร์มสุขมี เกษตรหนึ่งไร่โมเดล และโรงแรมแกรนด์ฟอร์จูนนครศรี ธรรมราชนำปลาหมอคางดำพัฒนาเป็ นเมนูอาหาร เพื่อส่งเสริมการบริโภคและจั บปลาชนิดนี้ออกจากแหล่งน้ำมากขึ้ น