ในวันแรงงานแห่งชาติ (National Labor Day) ตรงกับวันที่ 1 พฤษภาคมของทุกปี เป็นวันที่ต้องการชี้ให้เห็นถึ งความสำคัญของ “แรงงาน” รวมถึง แรงงานข้ามชาติ ผู้มีบทบาทสำคัญต่อการขับเคลื่ อนเศรษฐกิจของไทย สิ่งสำคัญที่ทุกฝ่ายจะต้องร่ วมมือกันอย่างจริงจังในการคุ้ มครองสิทธิและสวัสดิ ภาพของแรงงานไทยและแรงงานข้ ามชาติให้ได้รับตามหลักสิทธิมนุ ษยชน เพื่อสนับสนุนให้สังคมไทยมี ภาพลักษณ์ที่ดีในระดับสากล ด้านดูแลแรงงานและการจัดการปั ญหาการค้ามนุษย์
บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ ในฐานะผู้นำด้านเกษตรอุ ตสาหกรรมและอาหารแบบครบวงจร ส่งออกผลิตภัณฑ์อาหารไปกว่า 50 ประเทศทั่วโลก มีนโยบายให้ผู้มีส่วนได้เสียทุ กกลุ่ม โดยเฉพาะแรงงานได้รับการปฏิบัติ อย่างเท่าเทียม และเป็นธรรม ส่งเสริมและสนับสนุนเสรี ภาพในการแสดงออก การเจรจาต่อรอง และการได้รับค่าตอบแทนที่เป็ นธรรม รวมทั้งให้ความสำคัญกับกลุ่ มเปราะบางเพื่อต่อต้าน และยุติการค้ามนุษย์ แรงงานบังคับ แรงงานเด็ก ตลอดจนมุ่งขจัดการเลือกปฏิบัติ และต่อต้านการคุกคามในทุกรูปแบบ
ซีพีเอฟ ยังได้ผนึกพลังกับภาคีเครือข่ ายภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม ร่วมดูแลแรงงานข้ามชาติบนเรื อประมง ผ่านการจัดตั้ง “ศูนย์สวัสดิภาพและธรรมาภิ บาลแรงงานประมงสงขลา” หรือ ศูนย์ FLEC (FLEC: Fishermen Life Enhancement Center) ตั้งแต่ปี 2559 ร่วมกับ 6 องค์กร ได้แก่ องค์กรสะพานปลา กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สมาคมวางแผนครอบครัวแห่ งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรี นครินทราบรมราชชนนี ศูนย์อภิบาลผู้เดินทางทะเลสงขลา (บ้านสุขสันต์) บริษัท จี.อี.พี.พี. สะอาด (เก็บสะอาด) และบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) เพื่อปกป้องไม่ให้ตกเป็นเหยื่ อของการค้ามนุษย์ และพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ ของแรงงานข้ามชาติและสมาชิ กในครอบครัวในทุกมิติ ทั้งด้านชีวอนามั ยและความปลอดภัยในการทำงาน สุขภาพ การศึกษาของบุตรหลาน
ศูนย์ FLEC มีสำนักงานอยู่ในบริเวณท่าเที ยบเรือประมงสงขลา 2 (ท่าสะอ้าน) อ.เมือง จ.สงขลา เพื่อให้บริการเสริมสร้างคุ ณภาพชีวิตแรงงานข้ามชาติที่ ทำงานบนเรือประมง ท่าเทียบเรือสงขลา และครอบครัว เป็นที่ปรึกษาและให้ความช่ วยเหลือแรงงานสามารถเข้าถึงสิ ทธิต่างๆ ตามหลักสิทธิมนุษยชน มีห้องปฐมพยาบาลให้แรงงานที่มี เวลาค่อนข้างน้อยได้มีทางเลื อกในการตรวจรักษา รวมถึงคัดกรองโรคเบื้องต้น ห้องเรียนสำหรับลู กหลานของแรงงานได้มีความรู้อ่ านออกเขียนได้ และสามารถเข้าเรียนในระบบการศึ กษาของไทย ตลอดจนจัดกิจกรรมฝึกอบรมให้ ความรู้ทักษะชีวิตและฝึกอาชี พเสริมให้แรงงานและครอบครัวเพื่ อลดค่าใช้จ่ายครอบครัว และส่งเสริมการพึ่งพาตนเอง รวมทั้งจัดกิจกรรมเก็ บขยะแลกของใช้ในครัวเรือนเพื่ อสร้างการมีส่วนร่วมของแรงงานข้ ามชาติในการดูแลสิ่งแวดล้ อมทางทะเล เป็นต้น
ตลอดระยะเวลา 8 ปีในการดำเนินงานของศูนย์ FLEC ได้มีส่วนช่วยแรงงานข้ามชาติ และครอบครัวในจังหวัดสงขลาได้รั บการปฏิบัติอย่างเท่าเทียม ได้รับค่าจ้างที่เหมาะสมและเป็ นธรรม ตลอดจนเพิ่มโอกาสให้เข้าถึงสิ ทธิต่างๆ ทั้งด้านสาธารณสุข การศึกษาของเด็ก เป็นต้น ช่วยให้แรงงานและครอบครั วสามารถทำงานและใช้ชีวิตอยู่ ในประเทศไทยด้วยความมั่นใจ ช่วยลดความเสี่ยงด้านการค้ามนุ ษย์ ตลอดจนตกเป็นเหยื่อของการใช้ แรงงานผิดกฎหมายในทุกรูปแบบ
นอกจากนี้ ศูนย์ FLEC ได้มีบทบาทสำคัญช่วยส่งเสริมให้ แรงงานบนเรือประมงได้ ทำงานในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย และได้รับการดูแลรักษาอย่ างเหมาะสมและรวดเร็ว นอกจากมีห้องปฐมพยาบาลเบื้องต้ นที่ศูนย์แล้ว เจ้าหน้าที่ของศูนย์ FLEC ยังลงพื้นที่ทำกิจกรรมเชิงรุ กบนเรือประมงอย่างต่อเนื่อง เพื่อช่วยให้แรงงานข้ามชาติที่ ทำงานบนเรือประมงมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องชีวอนามั ยและความปลอดภั ยจากการทำงานบนเรือประมง การปฐมพยาบาลเบื้องต้น รวมทั้งสนับสนุนกล่องยาสามั ญประจำเรือ อำนวยความสะดวกแก่แรงงานข้ ามชาติที่มีปัญหาการสื่อสารได้ ใช้ยารักษาโรคเบื้องต้ นขณะทำงานอยู่กลางทะเล รวมทั้งมีการอบรมอาสาสมั ครคนประจำเรือ เป็นแกนนำของกลุ่มแรงงานข้ ามชาติสามารถช่ วยปฐมพยาบาลและให้ คำแนะนำการทำงานที่ปลอดภัยให้กั บเพื่อนที่ทำงานอยู่บนเรือ
ศูนย์ FLEC เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างของการบู รณาการของซีพีเอฟ กับหน่วยงานรัฐ ประชาสังคม และองค์กรเอกชน เพื่อช่วยกันยกระดับคุณภาพชีวิ ตที่ดีแก่แรงงานข้ามชาติ และครอบครัว ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่ อความเข้มแข็งของสั งคมและเศรษฐกิจของประเทศ ตลอดจนเป็นอีกแนวทางที่ช่วยขจั ดปัญหาการค้ามนุษย์ในอุ ตสาหกรรมประมงได้อย่างยั่งยืน